ไนตริกออกไซด์

ไนตริกออกไซด์ (Nitric oxide; NO หรือ ไนโตรเจนออกไซด์ หรือ ไนโตรเจนมอนอกไซด์[1]) เป็นโมเลกุลที่มีสูตรทางเคมีคือ NO เป็นอนุมูลอิสระ[6] ที่อยู่ในรูปของก๊าซ สามารถเคลื่อนที่ได้ดีในเซลล์ ทั้งบริเวณที่ชอบน้ำและไม่ชอบน้ำ และมีความสำคัญในทางอุตสาหกรรม ไนตริกออกไซด์เป็นผลพลอยได้ของการเผาไหม้สารอินทรีย์ในบริเวณที่มีอากาศ เช่นเครื่องยนต์ โรงงานอุตสาหกรรมที่ใช้เชื้อเพลิงจากฟอสซิล และเกิดขึ้นตามธรรมชาติระหว่างการเกิดฟ้าผ่า พืชสามารถสังเคราะห์ NO ขึ้นได้โดยวิถีกระบวนการสร้างและสลายที่ใช้อาร์จินีน หรือไนไตรต์ เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องที่สำคัญในพืช ได้แก่ nitrate reductase (NR) ซึ่งเปลี่ยนไนไตรต์เป็น NO โดยมีโมลิบดินัมเป็นโคแฟกเตอร์ เอนไซม์อีกตัวหนึ่งที่เกี่ยวข้องคือ xanthine oxidoreductase ซึ่งมีโมลิบดินัมและโคบอลต์เป็นองค์ประกอบด้วย [7]

ไนตริกออกไซด์
Skeletal formula of nitric oxide with bond length
Skeletal formula showing two lone pairs and one three-electron bond
Skeletal formula showing two lone pairs and one three-electron bond
Space-filling model of nitric oxide
Space-filling model of nitric oxide
ชื่อ
IUPAC name
ไนโตรเจนมอนอกไซด์[1]
Systematic IUPAC name
Oxidonitrogen(•)[2] (additive)
ชื่ออื่น
Nitrogen oxide
Nitrogen(II) oxide
Oxonitrogen
Nitrogen monoxide
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
3DMet
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ดรักแบงก์
ECHA InfoCard100.030.233 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 233-271-0
Gmelin Reference
451
IUPHAR/BPS
KEGG
RTECS number
  • QX0525000
UNII
UN number1660
CompTox Dashboard (EPA)
InChI
  • InChI=1S/NO/c1-2 checkY
    Key: MWUXSHHQAYIFBG-UHFFFAOYSA-N checkY
  • InChI=1/NO/c1-2
    Key: MWUXSHHQAYIFBG-UHFFFAOYAI
SMILES
  • [N]=O
คุณสมบัติ
NO
มวลโมเลกุล30.006 g·mol−1
ลักษณะทางกายภาพแก๊สไม่มีสี
ความหนาแน่น1.3402 g/L
จุดหลอมเหลว−164 องศาเซลเซียส (−263 องศาฟาเรนไฮต์; 109 เคลวิน)
จุดเดือด−152 องศาเซลเซียส (−242 องศาฟาเรนไฮต์; 121 เคลวิน)
0.0098 g / 100 ml (0 °C)
0.0056 g / 100 ml (20 °C)
1.0002697
โครงสร้าง
รูปร่างโมเลกุล
linear (point group Cv)
อุณหเคมี
Std molar
entropy (S298)
210.76 J/(K·mol)
Std enthalpy of
formation fH298)
90.29 kJ/mol
เภสัชวิทยา
R07AX01 (WHO)
ข้อมูลใบอนุญาต
การสูดดม
เภสัชจลนศาสตร์:
good
ผ่านทางหลอดเลือดฝอยในปอด
Biological half-life
2–6 วินาที
ความอันตราย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH):
อันตรายหลัก
  • Fatal if inhaled
  • Causes severe burns
  • Causes eye damage
  • Corrosive to the respiratory tract
[4]
GHS labelling:
Pictograms
GHS04: แก๊สอัดGHS03: OxidizingThe corrosion pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)The skull-and-crossbones pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)[3][4]
Signal word
อันตราย
Hazard statements
H270, H280, H314, H330[3][4]
Precautionary statements
P220, P244, P260, P280, P303+P361+P353+P315, P304+P340+P315, P305+P351+P338+P315, P370+P376, P403, P405[3][4]
NFPA 704 (fire diamond)
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC):
LC50 (median concentration)
315 ppm (rabbit, 15 min)
854 ppm (rat, 4 h)
2500 ppm (mouse, 12 min)[5]
LCLo (lowest published)
320 ppm (mouse)[5]
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS)External SDS
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
ไนโตรเจนออกไซด์ที่เกี่ยวข้อง
ไดไนโตรเจนเพนทอกไซด์

ไดไนโตรเจน เทโตรไซด์
ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์
ไนโตรเจนไดออกไซด์
ไนตรัสออกไซด์
Nitroxyl (reduced form)
Hydroxylamine (hydrogenated form)

หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

ผลต่อพืช

การผลิตและการแพร่กระจายของไนตริกออกไซด์ (NO) (สีขาว) ในไซโตพลาสซึม (สีเขียว) ของกลุ่มเซลล์ต้นสนโคนิเฟอร์

NO เป็นพิษต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงและระดับของคลอโรฟิลล์ในพืช ต่อมาจึงพบว่า NO มีผลต่อการส่งสัญญาณในพืช ซึ่ง NO จะกระตุ้นผ่านตัวส่งสัญญาณตัวที่สอง เช่น cAMP และ CADPR ดังเช่นการกระตุ้นให้มีการเพิ่มระดับของแคลเซียมในเซลล์ยาสูบในสภาวะที่มีแรงดันออสโมติกสูง [7] เมื่อพืชได้รับแรงกดดันทั้งจากสิ่งที่มีและไม่มีชีวิต จะกระตุ้นการสร้าง NO ขึ้นผ่านทางวิถีไนไตรต์หรือวิถีอาร์จินีน NO ที่เกิดขึ้นจะทำงานได้สองทาง ทางหนึ่งไปกระตุ้นตัวส่งสัญญาณตัวที่สอง cGMP/cADPR ซึ่งจะไปกระตุ้นช่องผ่านเข้าออกของแคลเซียมเพื่อเพิ่มปริมาณแคลเซียมอิสระภายในเซลล์ หรือผ่านกระบวนการอื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับ cGMP เช่นการกระตุ้นด้วยไนโตรเจนปฏิกิริยา (Reactive nitrogen species; RNS) ผลจากการกระตุ้นดังกล่าวนี้จะไปมีผลต่อการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้อง และสุดท้ายจะส่งผลต่อการทำงานของกรดแอบไซซิก กรดซาลิไซลิก กรดจัสโมนิก และเอทิลีน [7]

อ้างอิง

อ่านเพิ่มเติม

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคลหน้าหลักพระสุนทรโวหาร (ภู่)องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024สไปร์ท (แร็ปเปอร์)ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024พุ่มพวง ดวงจันทร์ดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)อีดิลอัฎฮาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ดอกเตอร์ไคลแมกซ์ ปุจฉาพาเสียวราชวงศ์จักรีลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยรายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีหม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคลทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระอภัยมณีหม่อมเจ้ามงคลเฉลิม ยุคลหม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรหลานม่าอริยสัจ 4ตารางธาตุนิราศภูเขาทองรายชื่อเครื่องดนตรีเฌอมาวีร์ สุวรรณภาณุโชคประเทศไทยอาณาจักรอยุธยาปิติ ภิรมย์ภักดีวอลเลย์บอลวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย