เครื่องหมายบวกและลบ

'เครื่องหมายบวกและลบ ( +'ลบ และ ) คือสัญลักษณ์คณิตศาสตร์ที่ใช้แสดงเครื่องหมายแสดงความเป็นบวกหรือลบ เช่นเดียวกับการดำเนินการบวกและลบ

เครื่องหมายบวกและลบ
วรรคตอน
อะพอสทรอฟี   '
วงเล็บ [ ]  ( )  { }  ⟨ ⟩
ทวิภาค :
จุลภาค ,  ،  
จุดไข่ปลา   ...  . . .      
อัศเจรีย์  !
มหัพภาค .
กิลเลอเมต ‹ ›  « »
ยัติภังค์ -
ยัติภาค   
ปรัศนี  ?
อัญประกาศ ‘ ’  “ ”  ' '  " "
อัฒภาค ;
ทับ /    
ตัวแบ่งคำ
อินเตอร์พังก์ ·
เว้นวรรค     
การพิมพ์ทั่วไป
แอมเพอร์แซนด์ &
ดอกจัน *
แอต @
แบ็กสแลช \
เบสิสพอยต์
บุลเลต
แคเรต ^
แดกเกอร์ † ‡ ⹋
องศา °
บุพสัญญา ” 〃
ดับเบิลไฮเฟน = ⸗
อัศเจรีย์กลับหัว ¡
ปรัศนีกลับหัว ¿
เครื่องหมายอ้างอิง
เครื่องหมายคูณ ×
นัมเบอร์, แฮชแท็ก #
นูเมอโร
ออเบอลุส ÷
ตัวบอกลำดับ º ª
สัญลักษณ์ร้อยละ (เปอร์เซ็นต์)  %
สัญลักษณ์พันละ (เปอร์มิลล์)
พิลโครว์
บวกและลบ + −
บวกหรือลบ ± ∓
ไพรม์     
เซกชัน §
ทิลเดอ, ตัวหนอน ~
อันเดอร์สกอร์ _
เส้นตั้ง |    ¦
ทรัพย์สินทางปัญญา
ลิขสิทธิ์ ©
กอปปีเลฟต์ 🄯
ลิขสิทธิ์การอัดเสียง
เครื่องหมายการค้าจดทะเบียน ®
เซอร์วิสมาร์ก
เครื่องหมายการค้า
สกุลเงิน
เครื่องหมายสัญลักษณ์สกุลเงิน ¤

؋ ​₳ ​฿ ​₵ ​¢ ​₡ ​₢ ​$ ​ ​₯ ​֏ ​₠ ​€ ​ƒ ​₣ ​₲ ​₴ ​₭ ​₺ ​₾ ​₼ ​ℳ ​₥ ​₦ ​₧ ​ ​₰ ​£ ​元 圆 圓 ​﷼ ​ ​₽ ​ ​₪ ​৳ ​₸ ​₮ ​₩ ​¥

การพิมพ์เฉพาะทาง
แอสเทอริซึม
ฟลอวรอน
ดัชนี
อินเทอร์รอแบง
วรรคตอนไอเรอนี
ลอซินจ์
ไท
ที่เกี่ยวข้อง
ในภาษาอื่น ๆ
  • จีน
  • ฮีบรู
  • ญี่ปุ่น
  • เกาหลี
ในภาษาไทย
โคมูตร
ตีนครุ
ไปยาลน้อย
ไปยาลใหญ่ฯลฯ
ฟองมัน
ไม้ยมก
อังคั่น , ฯะ, , ๚ะ

เครื่องหมายบวก

เครื่องหมายบวก (+) เป็นตัวดำเนินการทวิภาคที่บ่งบอกการบวก เช่น 2 + 3 = 5 เครื่องหมายนี้เป็นตัวดำเนินการเอกภาคที่ทำให้ตัวดำเนินการไม่เปลี่ยน (+x มีความหมายเหมือนกับ x) สัญลักษณ์นี้ใช้เน้นความเป็นบวกของจำนวน โดยเฉพาะเมื่อแสดงความแตกต่างกับจำนวนลบ (+5 กับ −5)

สัญลักษณ์บวกใช้บ่งบอกการดำเนินการอื่นๆ ได้อีกหลายการดำเนินการ ขึ้นกับระบบคณิตศาสตร์ที่พิจารณา โครงสร้างทางพีชคณิตหลายโครงสร้างมีการดำเนินการที่เรียกว่า หรือเทียบเท่าการบวก ข้อตกลงสากลกำหนดให้ใช้สัญลักษณ์บวกแทนการดำเนินการสลับที่[1] นอกจากนี้ สัญลักษณ์บวกใช้ได้กับการดำเนินการต่างๆ จำนวนมาก บวกหมายถึง:

ได้

เครื่องหมายลบ

เครื่องหมายลบ () ใช้ได้สามลักษณะในคณิตศาสตร์:[2]

  1. ตัวดำเนินการลบ: ตัวดำเนินการทวิภาคสำหรับแสดงตัวดำเนินการลบ เช่นใน 5 − 3 = 2 การลบเป็นการดำเนินการผกผันของการบวก
  2. เมื่ออยู่ข้างหน้าจำนวนและเมื่อไม่ใช่ตัวดำเนินการลบ เครื่องหมายนี้หมายถึงจำนวนลบ เช่น −5 คือลบ 5
  3. ตัวดำเนินการเอกภาค ที่เป็นคำสั่งเปลี่ยนตัวตั้งเป็นตัวผกผันการบวก เช่น ถ้า x คือ 3 แล้ว −x คือ −3 แต่ถ้า x คือ −3 แล้ว −x คือ 3 ในทำนองเดียวกัน −(−2) เท่ากับ 2 การใช้ลักษณะก่อนหน้าเป็นกรณีพิเศษของการใช้ลักษณะนี้

หนังสือเรียนในสหรัฐอเมริกาให้อ่าน −x เป็น "จำนวนตรงข้ามของ x" หรือแม้แต่ "ตัวผกผันการบวกของ x" เพื่อหลีกเลี่ยงการเข้าใจผิดว่า −x ต้องเป็นจำนวนเต็มลบ[3]

บางบริบทต้องใช้สัญลักษณ์ต่างๆ กันเพื่อบ่งบอกถึงความหมายเหล่านี้ เช่นในภาษาโปรแกรมAPL เครื่องหมายลบที่ยกขึ้นใช้แทนจำนวนลบ(เช่น 2 − 5 ได้ 3) แต่การใช้เช่นนี้พบได้ยาก

ในคณิตศาสตร์และภาษาโปรแกรมส่วนใหญ่ กฎลำดับการดำเนินการหมายความว่า −52 เท่ากับ −25 เลขชี้กำลังมีความสำคัญมากกว่าตัวดำเนินการลบแบบเอกภาค ที่สำคัญกว่าการคูณหรือการหาร อย่างไรก็ตามในภาษาโปรแกรมบางภาษาและไมโครซอฟท์ เอกซ์เซล ตัวดำเนินการเอกภาคสำคัญที่สุด ดังนั้น −5^2 คือ 25 แต่ 0−5^2 คือ −25[4]

อ้างอิง

🔥 Top keywords: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคลหน้าหลักพระสุนทรโวหาร (ภู่)องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024สไปร์ท (แร็ปเปอร์)ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024พุ่มพวง ดวงจันทร์ดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)อีดิลอัฎฮาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ดอกเตอร์ไคลแมกซ์ ปุจฉาพาเสียวราชวงศ์จักรีลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยรายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีหม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคลทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระอภัยมณีหม่อมเจ้ามงคลเฉลิม ยุคลหม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรหลานม่าอริยสัจ 4ตารางธาตุนิราศภูเขาทองรายชื่อเครื่องดนตรีเฌอมาวีร์ สุวรรณภาณุโชคประเทศไทยอาณาจักรอยุธยาปิติ ภิรมย์ภักดีวอลเลย์บอลวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย