สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา

จังหวัดยะลา มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดยะลามีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายสง่า สายศิลป์[2]

เขตเลือกตั้ง

การเลือกตั้งเขตเลือกตั้งแผนที่จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 25222 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 25383 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองยะลา (ยกเว้นตำบลเปาะเส้ง ตำบลบันนังสาเรง และตำบลบุดี)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกาบัง, อำเภอรามัน, อำเภอยะหา (ยกเว้นตำบลปะแต) และอำเภอเมืองยะลา (เฉพาะตำบลเปาะเส้ง ตำบลบันนังสาเรง และตำบลบุดี)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเบตง, อำเภอธารโต, อำเภอบันนังสตา, อำเภอยะหา (เฉพาะตำบลปะแต) และกิ่งอำเภอกรงปินัง
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองยะลา (ยกเว้นตำบลเปาะเส้ง ตำบลบันนังสาเรง และตำบลบุดี)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกาบัง, อำเภอรามัน, อำเภอยะหา (ยกเว้นตำบลปะแต) และอำเภอเมืองยะลา (เฉพาะตำบลเปาะเส้ง ตำบลบันนังสาเรง และตำบลบุดี)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเบตง, อำเภอธารโต, อำเภอบันนังสตา, อำเภอกรงปินัง และอำเภอยะหา (เฉพาะตำบลปะแต)
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองยะลา (ยกเว้นตำบลเปาะเส้ง ตำบลบันนังสาเรง และตำบลบุดี)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกาบัง, อำเภอรามัน, อำเภอยะหา (ยกเว้นตำบลปะแต) และอำเภอเมืองยะลา (เฉพาะตำบลเปาะเส้ง ตำบลบันนังสาเรง และตำบลบุดี)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเบตง, อำเภอธารโต, อำเภอบันนังสตา, อำเภอกรงปินัง และอำเภอยะหา (เฉพาะตำบลปะแต)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองยะลา (ยกเว้นตำบลเปาะเส้ง ตำบลบันนังสาเรง และตำบลบุดี) และอำเภอยะหา (เฉพาะตำบลตาชี ตำบลยะหา และตำบลบาโงยซิแน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอรามัน, อำเภอกาบัง, อำเภอเมืองยะลา (เฉพาะตำบลเปาะเส้ง ตำบลบันนังสาเรง และตำบลบุดี) และอำเภอยะหา (ยกเว้นตำบลตาชี ตำบลยะหา และตำบลบาโงยซิแน)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกรงปินัง, อำเภอบันนังสตา, อำเภอธารโต และอำเภอเบตง
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

      พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่การเลือกตั้งเขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1พ.ศ. 2476นายสง่า สายศิลป์
ชุดที่ 2พ.ศ. 2480นายแวและ เบญอาบัชร์
ชุดที่ 3พ.ศ. 2481นายวิไล เบญจลักษณ์
ชุดที่ 4มกราคม พ.ศ. 2489นายประสาท ไชยะโท
สิงหาคม พ.ศ. 2489– (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5พ.ศ. 2491นายสาลี กูลณรงค์
พ.ศ. 2492– (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7พ.ศ. 2495นายประสาท ไชยะโท

ชุดที่ 8–12; พ.ศ. 2500–2519

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่การเลือกตั้งเขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500นายประสาท ไชยะโท
ชุดที่ 9ธันวาคม พ.ศ. 2500นายอดุล ภูมิณรงค์
ชุดที่ 10พ.ศ. 2512นายอดุล ภูมิณรงค์
ชุดที่ 11พ.ศ. 2518นายประสาท ไชยะโท
ชุดที่ 12พ.ศ. 2519นายอุสมาน อุเซ็ง

ชุดที่ 13–18; พ.ศ. 2522–2535

      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติประชาชน (พ.ศ. 2522)พรรคสยามประชาธิปไตย
      พรรคสยามประชาธิปไตย → พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรคประชาชน (พ.ศ. 2531)พรรคเอกภาพ
      พรรคความหวังใหม่
ชุดที่การเลือกตั้งเขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 13พ.ศ. 2522นายวันมูหะมัดนอร์ มะทานายอดุล ภูมิณรงค์
ชุดที่ 14พ.ศ. 2526นายเฉลิม เบ็ญหาวันนายอดุล ภูมิณรงค์
ชุดที่ 15พ.ศ. 2529นายวันมูหะมัดนอร์ มะทานายอดุล ภูมิณรงค์
ชุดที่ 16พ.ศ. 2531นายวันมูหะมัดนอร์ มะทานายไพโรจน์ เฉลียวศักดิ์
ชุดที่ 17มีนาคม พ.ศ. 2535นายวันมูหะมัดนอร์ มะทานายไพศาล ยิ่งสมาน
ชุดที่ 18กันยายน พ.ศ. 2535

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

      พรรคความหวังใหม่
      พรรคประชาธิปัตย์
เขตชุดที่ 19 พ.ศ. 2538ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา
นายประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ
นายบูราฮานูดิน อุเซ็งนายไพศาล ยิ่งสมาน

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคความหวังใหม่พรรคไทยรักไทย
เขตชุดที่ 21 พ.ศ. 2544ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1นายประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ
2นายไพศาล ยิ่งสมานนายอับดุลการิม เด็งระกีนา
3นายบูราฮานูดิน อุเซ็งนายณรงค์ ดูดิง

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เขตชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1นายประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ
นายอับดุลการิม เด็งระกีนา
นายซูการ์โน มะทา

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคประชาชาติ (พ.ศ. 2561)
ชุดที่การเลือกตั้งเขตเลือกตั้งที่ 1เขตเลือกตั้งที่ 2เขตเลือกตั้งที่ 3
ชุดที่ 24พ.ศ. 2554นายประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิรินายอับดุลการิม เด็งระกีนานายณรงค์ ดูดิง
ชุดที่ 25พ.ศ. 2562นายอาดิลัน อาลีอิสเฮาะนายซูการ์โน มะทานายอับดุลอายี สาแม็ง
ชุดที่ 26พ.ศ. 2566นายสุไลมาน บือแนปีแน

รูปภาพ

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคลหน้าหลักพระสุนทรโวหาร (ภู่)องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024สไปร์ท (แร็ปเปอร์)ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024พุ่มพวง ดวงจันทร์ดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)อีดิลอัฎฮาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ดอกเตอร์ไคลแมกซ์ ปุจฉาพาเสียวราชวงศ์จักรีลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยรายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีหม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคลทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระอภัยมณีหม่อมเจ้ามงคลเฉลิม ยุคลหม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรหลานม่าอริยสัจ 4ตารางธาตุนิราศภูเขาทองรายชื่อเครื่องดนตรีเฌอมาวีร์ สุวรรณภาณุโชคประเทศไทยอาณาจักรอยุธยาปิติ ภิรมย์ภักดีวอลเลย์บอลวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย