วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก (อังกฤษ: FIVB Volleyball World League) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติสำหรับผู้ชาย การแข่งขันเริ่มครั้งแรกในปี ค.ศ. 1990 จัดการแข่งขันโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (เอฟไอวีบี) การแข่งขันจะจัดเป็นประจำทุกปี การแข่งขันสำหรับผู้หญิงเรียกว่าเวิลด์กรังด์ปรีซ์ จะได้ไม่สับสนกับการแข่งขันชิงแชมป์โลก, เวิลด์คัพ และเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2017
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้งค.ศ. 1990
จำนวนทีม32 ทีม
ทวีประหว่างประเทศ (FIVB)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย (1สมัย)
ทีมชนะเลิศสูงสุดธงชาติบราซิล บราซิล (9 สมัย)

ในปี ค.ศ. 2018 เวิลด์ลีกถูกแทนที่โดยรายการใหม่ ในชื่อ วอลเลย์บอลชายเนชันส์ลีก[1][2]

ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขัน

บราซิลและอิตาลี เป็นสองทีมที่เข้าร่วมในการแข่งขันทุกครั้งของวอลเลย์บอลเวิลด์ลีก

  ทีมในดิวิชัน 1
  ทีมในดิวิชัน 2
  ทีมในดิวิชัน 3
  ทีมที่ไม่ได้เข้าร่วมในเวิลด์ลีก
ทีมรอบคัดเลือกรอบสุดท้าย
จำนวนครั้งแรกครั้งล่าสุดจำนวนครั้งแรกครั้งล่าสุด
 บราซิล28199020172419902016
 อิตาลี28199020172219902016
 คิวบา26199120161519912012
 รัสเซีย[N 1]26199020172119902014
 ญี่ปุ่น2419902017120082008
 ฝรั่งเศส2219902017620012016
 เนเธอร์แลนด์21199020171019902002
 บัลแกเรีย20199420171019942013
 โปแลนด์2019982017920012016
 เซอร์เบีย[N 2]20199720171220002016
 สหรัฐ20199020171019922016
 อาร์เจนตินา1919962017519992013
 เกาหลีใต้1919912017119951995
 จีน1819902017119961996
 สเปน1519952017319992003
 โปรตุเกส1419992017
 ฟินแลนด์1319932017
 เยอรมนี1319922017120122012
 กรีซ1319932017120032003
 แคนาดา1119912017120132013
 เวเนซุเอลา920012017
 อียิปต์720062017
 ออสเตรเลีย519992017120142014
 เช็กเกีย520032017120032003
 อิหร่าน520132017120142014
 เบลเยียม420142017
 เม็กซิโก420142017
 ปวยร์โตรีโก420112016
 สโลวาเกีย420142017
 ตูนิเซีย420142017
 ตุรกี420142017
 คาซัคสถาน320152017
 มอนเตเนโกร320152017
 จีนไทเป220162017
 กาตาร์220162017
 สโลวีเนีย220162017
 ออสเตรีย120172017
 เอสโตเนีย120172017

สรุปการแข่งขัน

ปีเจ้าภาพรอบชิงชนะเลิศรอบชิงอันดับที่ 3จำนวนทีม
IR / FR
ชนะเลิศคะแนนรองชนะเลิศอันดับที่ 3คะแนนอันดับที่ 4
1990
รายละเอียด

โอซะกะ

อิตาลี
3–0
เนเธอร์แลนด์

บราซิล
3–1
สหภาพโซเวียต
8 / 4
1991
รายละเอียด

มิลาน

อิตาลี
3–0
คิวบา

สหภาพโซเวียต
3–1
เนเธอร์แลนด์
10 / 4
1992
รายละเอียด

เจนัว

อิตาลี
3–1
คิวบา

สหรัฐ
3–1
เนเธอร์แลนด์
12 / 4
1993
รายละเอียด

เซาเปาลู

บราซิล
3–0
รัสเซีย

อิตาลี
3–0
คิวบา
12 / 4
1994
รายละเอียด

Milan

อิตาลี
3–0
คิวบา

บราซิล
3–2
บัลแกเรีย
12 / 6
1995
รายละเอียด

รีโอเดจาเนโร

อิตาลี
3–1
บราซิล

คิวบา
3–2
รัสเซีย
12 / 6
1996
รายละเอียด

รอตเทอร์ดาม

เนเธอร์แลนด์
3–2
อิตาลี

รัสเซีย
3–2
คิวบา
11 / 6
1997
รายละเอียด

มอสโก

อิตาลี
3–0
คิวบา

รัสเซีย
3–0
เนเธอร์แลนด์
12 / 6
1998
รายละเอียด

มิลาน

คิวบา
พบกันหมด
รัสเซีย

เนเธอร์แลนด์
พบกันหมด
อิตาลี
12 / 4
1999
รายละเอียด

มาร์เดลปลาตา

อิตาลี
3–1
คิวบา

บราซิล
3–1
รัสเซีย
12 / 6
2000
รายละเอียด

รอตเทอร์ดาม

อิตาลี
3–2
รัสเซีย

บราซิล
3–0
ยูโกสลาเวีย
12 / 6
2001
รายละเอียด

คาโตวีตเซ

บราซิล
3–0
อิตาลี

รัสเซีย
3–0
ยูโกสลาเวีย
16 / 8
2002
รายละเอียด

เบโลโอรีซอนชี

รัสเซีย
3–1
บราซิล

ยูโกสลาเวีย
3–1
อิตาลี
16 / 8
2003
รายละเอียด

มาดริด

บราซิล
3–2
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร

อิตาลี
3–1
เช็กเกีย
16 / 8
2004
รายละเอียด

โรม

บราซิล
3–1
อิตาลี

เซอร์เบียและมอนเตเนโกร
3–0
บัลแกเรีย
12 / 4
2005
รายละเอียด

เบลเกรด

บราซิล
3–1
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร

คิวบา
3–2
โปแลนด์
12 / 4
2006
รายละเอียด

มอสโก

บราซิล
3–2
ฝรั่งเศส

รัสเซีย
3–0
บัลแกเรีย
16 / 6
2007
รายละเอียด

คาโตวีตเซ

บราซิล
3–1
รัสเซีย

สหรัฐ
3–1
โปแลนด์
16 / 6
2008
รายละเอียด

รีโอเดจาเนโร

สหรัฐ
3–1
เซอร์เบีย

รัสเซีย
3–1
บราซิล
16 / 6
2009
รายละเอียด

เบลเกรด

บราซิล
3–2
เซอร์เบีย

รัสเซีย
3–0
คิวบา
16 / 6
2010
รายละเอียด

กอร์โดบา

บราซิล
3–1
รัสเซีย

เซอร์เบีย
3–2
คิวบา
16 / 6
2011
รายละเอียด

กดัญสก์

รัสเซีย
3–2
บราซิล

โปแลนด์
3–0
อาร์เจนตินา
16 / 8
2012
รายละเอียด

โซเฟีย

โปแลนด์
3–0
สหรัฐ

คิวบา
3–2
บัลแกเรีย
16 / 6
2013
รายละเอียด

มาร์เดลปลาตา

รัสเซีย
3–0
บราซิล

อิตาลี
3–2
บัลแกเรีย
18 / 6
2014
รายละเอียด

ฟลอเรนซ์

สหรัฐ
3–1
บราซิล

อิตาลี
3–0
อิหร่าน
28 / 6
2015
รายละเอียด

ริโอเดอจาเนโร

ฝรั่งเศส
3–0
เซอร์เบีย

สหรัฐ
3–0
โปแลนด์
32 / 6
2016
รายละเอียด

กรากุฟ

เซอร์เบีย
3–0
บราซิล

ฝรั่งเศส
3–0
อิตาลี
36 / 6
2017
รายละเอียด

กูรีตีบา

ฝรั่งเศส
3–2
บราซิล

แคนาดา
3–1
สหรัฐ
36 / 6

สรุปเหรียญ

อันดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1  บราซิล97420
2  อิตาลี83415
3  รัสเซีย[N 3]35715
4  สหรัฐ2136
5  คิวบา1539
 เซอร์เบีย[N 4]1539
7  ฝรั่งเศส2114
8  เนเธอร์แลนด์1113
9  โปแลนด์1012
10  แคนาดา0011
รวม28282884

ผู้เล่นทรงคุณค่า

ดูเพิ่ม

หมายเหตุ

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคลหน้าหลักพระสุนทรโวหาร (ภู่)องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024สไปร์ท (แร็ปเปอร์)ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024พุ่มพวง ดวงจันทร์ดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)อีดิลอัฎฮาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ดอกเตอร์ไคลแมกซ์ ปุจฉาพาเสียวราชวงศ์จักรีลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยรายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีหม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคลทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระอภัยมณีหม่อมเจ้ามงคลเฉลิม ยุคลหม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรหลานม่าอริยสัจ 4ตารางธาตุนิราศภูเขาทองรายชื่อเครื่องดนตรีเฌอมาวีร์ สุวรรณภาณุโชคประเทศไทยอาณาจักรอยุธยาปิติ ภิรมย์ภักดีวอลเลย์บอลวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย