ลูซากา

ลูซากา (อักษรโรมัน: Lusaka, /lˈsɑːkə/; loo-sah-kə) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดของประเทศแซมเบีย หนึ่งในนครที่มีการพัฒนารวดเร็วที่สุดในภูมิภาคแอฟริกาตอนใต้[7] ลูซากาตั้งอยู่บนที่ราบสูง ที่ความสูง 1,279 เมตร (4,196 ฟุต) จากระดับน้ำทะเล ประชากรของลูซากาอยู่ที่ราว 3.3 ล้านคน ข้อมูลเมื่อ 2019 ส่วนประชากรในเขตนครประมาณอยู่ที่ 2.5 ล้านคนในปี 2018[8] ลูซากาเป็นทั้งศูนย์กลางเศรษฐกิจและรัฐบาลของแซมเบีย และเป็นจุดเชื่อมต่อของทางหลวงสี่สายหลักของประเทศ ได้แก่เส้นเหนือ, เส้นลิฟวิ่งสโตนลงใต้, เส้นตะวันออก และ เส้นตะวันตก

ลูซากา

Mwalusaka
City
จากบนและซ้ายไปขวา: ย่านธุรกิจกลางนครลูซากา ทางขวาของภาพเห็นฟินเดโคเฮาส์, วงเวียน Kafue, มหาวิทยาลัยแซมเบียวิมยาเชตหลัก, อาสนวิหารกางเขนศักดิ์สิทธิ์, สำนักงานใหญ่ซานาโค, โซไซตีบิสเนสพาร์ก, ไคโรมอลล์, พิพิธภัณฑ์แห่งชาติลูซากา
สมญา: 
LSK
ลูซากาตั้งอยู่ในประเทศแซมเบีย
ลูซากา
ลูซากา
Location of Lusaka in Zambia
ลูซากาตั้งอยู่ในแอฟริกา
ลูซากา
ลูซากา
ลูซากา (แอฟริกา)
พิกัด: 15°25′S 28°17′E / 15.417°S 28.283°E / -15.417; 28.283
ประเทศแซมเบีย
จังหวัดลูซากา
อำเภอลูซากา
ตั้งนคร1905
ได้รับสถานะนคร25 สิงหาคม 1960
การปกครอง
 • ประเภทสภาเทศบาลนคร
 • นายกเทศบาลChilando Chitangala (PF)
พื้นที่[2]
 • City360 ตร.กม. (140 ตร.ไมล์)
ความสูง1,279[3] เมตร (4,190 ฟุต)
ประชากร
 (สำมะโนปี 2010)
 • City1,747,152[1] คน
 • ประมาณ 
(2020)
2,731,696[4] คน
 • รวมปริมณฑล2,238,569 คน
เขตเวลาUTC+2 (เวลาแอฟริกากลาง)
รหัสพื้นที่0211[5]
HDI (2018)0.664[6]
Medium
เว็บไซต์www.lcc.gov.zm

หลักฐานการตั้งรกรากที่เก่าแก่ที่สุดในลูซากาย้อนไปได้ถึงศตวรรษที่ 6 และทราบว่ามีการตั้งรกรากครั้งแรกในศตวรรษที่ 11 ในศตวรรษที่ 17-18 เรื่อยมา ลูซากามีผู้อยู่อาศัยเป็นชาวเลนเจ กับ ชาวโซลี การตั้งนครในยุคปัจจุบันเริ่มต้นในปี 1905 ภายใต้การปกครองของอังกฤษในรัฐโรดีเซียเหนือ

เมืองพี่น้อง

อ้างอิง

🔥 Top keywords: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคลหน้าหลักพระสุนทรโวหาร (ภู่)องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024สไปร์ท (แร็ปเปอร์)ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024พุ่มพวง ดวงจันทร์ดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)อีดิลอัฎฮาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ดอกเตอร์ไคลแมกซ์ ปุจฉาพาเสียวราชวงศ์จักรีลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยรายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีหม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคลทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระอภัยมณีหม่อมเจ้ามงคลเฉลิม ยุคลหม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรหลานม่าอริยสัจ 4ตารางธาตุนิราศภูเขาทองรายชื่อเครื่องดนตรีเฌอมาวีร์ สุวรรณภาณุโชคประเทศไทยอาณาจักรอยุธยาปิติ ภิรมย์ภักดีวอลเลย์บอลวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย