รายการธงในสาธารณรัฐไวมาร์

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

หน้านี้คือรายชื่อธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ใน สาธารณรัฐไวมาร์ (ค.ศ. 1919–1933).

ธงชาติ

ภาพธงระยะเวลาการใช้การใช้คำอธิบาย
ค.ศ. 1919–1933ธงชาติธงแบ่งเป็นแถบแนวนอนสี 3 แถบ ดำ-แดง-ทอง อัตราส่วน : 2:3.[1]
ค.ศ. 1927–1933ธงราชการสำหรับตกแต่ง.

ธงเรือ

ธงค้าขาย

ภาพธงระยะเวลาการใช้การใช้คำอธิบาย
ค.ศ. 1919–1933ธงค้าขายลักษณะเดียวกับธงของจักรวรรดิเยอรมัน ประกอบธงดำ-แดง-ทองภายในแถบสีดำขอบขาวที่มุมบนคันธง. อัตราส่วน: 2:3.
ค.ศ. 1921–1933ธงเรือช่วยรบ และ ธงเรือพลเรือนบังคับการโดยทหารธงค้าขายแบบเพิ่มเติมมีรูปกางเขนเหล็ก.

ธงราชการ

ภาพธงระยะเวลาการใช้การใช้คำอธิบาย
ค.ศ. 1921–1933ธงราชการสำหรับใช้ในแผ่นดินบังคับใช้ระหว่างวันที่ 11 เมษายน ค.ศ. 1921 ถึง 11 เมษายน ค.ศ. 1933 อัตราส่วน: 2:3. Über die Verwendung von Dienstflaggen mit anderen Adlervarianten gibt es keine Belege: .
ค.ศ. 1921–1926ธงเรือราชการสำหรับใช้ในทะเลบังคับใช้ระหว่างวันที่ 11 เมษายน ค.ศ. 1921 ถึง มกราคม ค.ศ. 1926. Wohl nicht verwendete Variante:
ค.ศ. 1926–1933บังคับใช้ระหว่างวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1926 ถึง 31 มีนาคม ค.ศ. 1933.

ธงไปรษณีย์

ภาพธงระยะเวลาการใช้การใช้คำอธิบาย
ค.ศ. 1919–1921ธงเจ้าพนักงานการไปรษณีย์บังคับใช้ระหว่างวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1919 รับรองอย่างเป็นทางการเมื่อ 15 ตุลาคม ในปีเดียวกัน ถึง 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1921. อัตราส่วน: 2:3.
ค.ศ. 1921–1933บังคับใช้ระหว่างวันที่ 11เมษายน ค.ศ. 1921 รับรองอย่างเป็นทางการเมื่อ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1921 ถึง 31. มีนาคม ค.ศ. 1933.

ธงทหาร

ภาพธงระยะเวลาการใช้การใช้คำอธิบาย
ค.ศ. (1903)–1921ธงจักรพรรดินาวีบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 1921.
ค.ศ. (1919)ธงแสดงสัญชาติสงครามไม่เคยใช้โดยนิตินัย.
ค.ศ. 1921–1933บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 11 เมษายน ค.ศ. 1921 และ ใช้เป็นธงศึกเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1922.
ค.ศ. (1903)–1921ธงฉาน.
ค.ศ. (1919)/1921–1933วันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1919 บังคับใช้ระหว่างวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1922 ถึง 14 มีนาคม ค.ศ. 1933.

ธงตำแหน่งราชการ

ประธานาธิบดี

ภาพธงระยะเวลาการใช้การใช้คำอธิบาย
ค.ศ. 1919–1921ธงประธานาธิบดีบังคับใช้ระหว่างวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1919 ถึง 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1921. อัตราส่วน: 3:5.
ค.ศ. 1921–1933[2]Die am 31. Juli 1921 eingeführte Standarte wurde vermutlich durchgehend bis zum Jahr 1933 verwendet und ab dem Jahr 1926 zusätzlich zur nachfolgenden Version eingesetzt.[3]
ค.ศ. 1926–1933บังคับใช้ระหว่างวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1926 ถึง 22 เมษายน ค.ศ. 1933.

รัฐมนตรีว่าการกลาโหม

ภาพธงระยะเวลาการใช้การใช้คำอธิบาย
ค.ศ. 1919–1921ธงรัฐมนตรีว่าการกลาโหมบังคับใช้ระหว่างวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1919 ถึง 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1921. อัตราส่วน 3:5.
ค.ศ. 1921–1933บังคับใช้ระหว่างวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1921 ถึง 14 มีนาคม กรกฎาคม ค.ศ. 1933 อัตราส่วน 2:3.

ธงยศทหาร

ธงทหารบก

ภาพธงระยะเวลาการใช้การใช้คำอธิบาย
ค.ศ. (1871)–1925ธงผู้บัญชาการกองทัพบก
ธงผู้บัญชาการกองกำลัง หรือ กองกำลังรถถังแพนเซอร์
ธงผู้บัญชาการกองพลลักษณะเดียวกับธงชาติ เป็นรูปสามเหลี่ยมปลายแหลม
ค.ศ. 1925–1927ธงเสนาธิการทหารบกบังคับใช้ระหว่างวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1925, ถึง เดือนมกราคม ค.ศ. 1927.
ค.ศ. 1927–1933บังคับใช้ระหว่าง ค.ศ. 1927 ถึง ค.ศ. 1933
ค.ศ. 1925–1927ธงผู้บัญชาการกองทัพภาคบังคับใช้ระหว่างวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1925, ถึง เดือนมกราคม ค.ศ. 1927.
ค.ศ. 1927–1933บังคับใช้ระหว่าง ค.ศ. 1927 ถึง ค.ศ. 1933
ค.ศ. 1925–1927ธงผู้บัญชาการกองพลบังคับใช้ระหว่างวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1925, ถึง เดือนมกราคม ค.ศ. 1927.
ค.ศ. 1927–1933บังคับใช้ระหว่าง ค.ศ. 1927 ถึง ค.ศ. 1933
ค.ศ. 1925–1927ธงผู้บัญชาการกองพลทหารม้าบังคับใช้ระหว่างวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1925, ถึง เดือนมกราคม ค.ศ. 1927.
ค.ศ. 1925–1933ธงผู้บัญชาการกรมทหารราบบังคับใช้ระหว่างวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1925, ถึง เดือนมกราคม ค.ศ. 1933 สำหรับ.
ธงผู้บัญชาการกรมทหารปืนใหญ่

ธงทหารเรือ

ภาพธงระยะเวลาการใช้การใช้คำอธิบาย
ตั้งแต่ ค.ศ. 1871ธงพลเรือเอกธงสี่เหลี่ยมจตุรัสพื้นสีขาวตรากางเขนเหล็ก.
ธงพลเรือโทธงสี่เหลี่ยมจตุรัสพื้นสีขาวตรากางเขนเหล็ก มุมบนคันธงมีวงกลมสีดำ 1 วง.
ธงพลเรือตรีธงสี่เหลี่ยมจตุรัสพื้นสีขาวตรากางเขนเหล็ก มุมบน และ มุมล่างคันธงมีวงกลมสีดำช่องละ 1 วง.
ธงพลเรือจัตวาWurde der Stander im Topp gesetzt, handelte es sich um einen Kommodore-Stander, wurde er an der Rahe gesetzt, handelte es sich um den Dienstaltersstander
ธงผู้บัญชาการกองเรือรบธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีขาวตัดปลายหางแซงแซว2แฉกตรากางเขนเหล็ก
ธงผู้บังคับหมวดเรือWurde der Stander im Topp gesetzt, handelte es sich um den Stander einer Halbflottille, ab dem 1. Januar 1922 handelte es sich um einen Führerstander, sofern dieser an der Rahe gesetzt wurde.
ธงผู้บังคับการเรือ
ค.ศ. (1902)–1921ธงผู้บังคับหน่วยปฏิบัติการเฉพาะกิจDer Führerstander wurde zunächst aus dem Kaiserreich übernommen. Er wurde am 1. Januar 1922 durch den vorangehend beschriebenen Halbflotillenstander ersetzt.
ค.ศ. 1922–1933ธงนำร่องบังคับใช้ระหว่างวันที่ 10 มีนาคม ค.ศ. 1921 ถึง 21 มิถุนายน กรกฎาคม ค.ศ. 1933. ธงค้าขายมีขอบสีขาวความกว้าง 1/5 ของธง.

ธงรัฐบาลประจำแต่ละรัฐ

Schiffssonderflaggen

ภาพธงระยะเวลาการใช้การใช้คำอธิบาย
ค.ศ. 1926–1933ธงจักรพรรดินาวีAb 1926 an jedem 31. Mai auf allen Schiffen der Kriegsmarine gehisst. (Tag der Skagerrag-Schlacht)
ค.ศ. 1922–1933ธงรัฐปรัสเซีย
ธงนครรัฐฮัมบวร์ค

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

เชิงอรรถ

  • Dreyhaupt: Deutsche Nationalflaggen, Teil V: Flaggen der Weimarer Republik, in: Der Flaggenkurier Nr. 11/2000, Deutsche Gesellschaft für Flaggenkunde, Berlin

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:SORTIERUNG:Weimarer Republik

🔥 Top keywords: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคลหน้าหลักพระสุนทรโวหาร (ภู่)องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024สไปร์ท (แร็ปเปอร์)ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024พุ่มพวง ดวงจันทร์ดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)อีดิลอัฎฮาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ดอกเตอร์ไคลแมกซ์ ปุจฉาพาเสียวราชวงศ์จักรีลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยรายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีหม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคลทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระอภัยมณีหม่อมเจ้ามงคลเฉลิม ยุคลหม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรหลานม่าอริยสัจ 4ตารางธาตุนิราศภูเขาทองรายชื่อเครื่องดนตรีเฌอมาวีร์ สุวรรณภาณุโชคประเทศไทยอาณาจักรอยุธยาปิติ ภิรมย์ภักดีวอลเลย์บอลวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย