ยูเบอร์คัพ

ยูเบอร์คัพ บางครั้งเรียกว่า การแข่งขันแบดมินตันทีมหญิงชิงแชมป์โลก เป็นการแข่งขันแบดมินตันประเภททีมหญิงโลกระดับทีมชาติ ครั้งแรกก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1956–1957 และจัดการแข่งขันในช่วงระยะเวลาสามปี ต่อมาได้เปลี่ยนการจัดการแข่งขันทุกๆ สองปีนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1984 เมิ่อกำหนดการแข่งขันและสนามการแข่งขันถูกควบรวมกับ ทอมัส คัพ หรือการแข่งขันแบดมินตันทีมชายชิงแชมป์โลก ยูเบอร์คัพได้ตั้งชื่อนี้ ในปี ค.ศ. 1950 หลังจาก เบ็ตตี ยูเบอร์ อดีตนักแบดมินตันหญิงชาว สหราชอาณาจักร ได้มีแนวคิดในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันของผู้หญิงให้คล้ายคลึงกับผู้ชาย[1]

ยูเบอร์คัพ
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน ทอมัส & ยูเบอร์ คัพ 2022
กีฬาแบดมินตัน
ก่อตั้ง1957
จำนวนทีม16
ประเทศBWF ชาติสมาชิก
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน เกาหลีใต้ (2 สมัย)
ทีมชนะเลิศสูงสุด จีน (15 สมัย)

ผลการแข่งขัน

สรุปผลงานยูเบอร์คัพ

1957 – 1981

ปี[2]เจ้าภาพรอบชิงชนะเลิศ
ชนะเลิศผลรองชนะเลิศ
1957
รายละเอียด
แลงคาเชอร์, ประเทศอังกฤษ
สหรัฐ
6–1
เดนมาร์ก
1960
รายละเอียด
ฟิลาเดลเฟีย, สหรัฐ
สหรัฐ
5–2
เดนมาร์ก
1963
รายละเอียด
วิลมิงตัน, สหรัฐ
สหรัฐ
4–3
อังกฤษ
1966
รายละเอียด
เวลลิงตัน, ประเทศนิวซีแลนด์
ญี่ปุ่น
5–2
สหรัฐ
1969
รายละเอียด
โตเกียว, ประเทศญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น
6–1
อินโดนีเซีย
1972
รายละเอียด
โตเกียว, ประเทศญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น
6–1
อินโดนีเซีย
1975
รายละเอียด
จาการ์ตา, ประเทศอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย
5–2
ญี่ปุ่น
1978
รายละเอียด
ออกแลนด์, ประเทศนิวซีแลนด์
ญี่ปุ่น
5–2
อินโดนีเซีย
1981
รายละเอียด
โตเกียว, ประเทศญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น
6–3
อินโดนีเซีย

1984 – 1988

ปีเจ้าภาพรอบชิงชนะเลิศรอบชิงอันดับที่ 3
ชนะเลิศผลรองชนะเลิศอันดับ 3ผลอันดับ 4
1984
รายละเอียด
กัวลาลัมเปอร์, ประเทศมาเลเซีย
จีน
5–0
อังกฤษ

เกาหลีใต้
5–0
เดนมาร์ก
1986
รายละเอียด
จาการ์ตา, ประเทศอินโดนีเซีย
จีน
3–2
อินโดนีเซีย

เกาหลีใต้
3–2
ญี่ปุ่น
1988
รายละเอียด
กัวลาลัมเปอร์, ประเทศมาเลเซีย
จีน
5–0
เกาหลีใต้

อินโดนีเซีย
5–0
ญี่ปุ่น

1990 เป็นต้นไป

ปีเจ้าภาพรอบชิงชนะเลิศรอบรองชนะเลิศ
ชนะเลิศผลรองชนะเลิศ
1990
รายละเอียด
นาโงยะ และ โตเกียว, ประเทศญี่ปุ่น
จีน
3–2
เกาหลีใต้

อินโดนีเซีย

ญี่ปุ่น
1992
รายละเอียด
กัวลาลัมเปอร์, ประเทศมาเลเซีย
จีน
3–2
เกาหลีใต้

สวีเดน

อินโดนีเซีย
1994
รายละเอียด
จาการ์ตา, ประเทศอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย
3–2
จีน

สวีเดน

เกาหลีใต้
1996
รายละเอียด
ฮ่องกง
อินโดนีเซีย
4–1
จีน

เกาหลีใต้

เดนมาร์ก
1998
รายละเอียด
ฮ่องกง, จีน เอสเออาร์
จีน
4–1
อินโดนีเซีย

เดนมาร์ก

เกาหลีใต้
2000
รายละเอียด
กัวลาลัมเปอร์, ประเทศมาเลเซีย
จีน
3–0
เดนมาร์ก

อินโดนีเซีย

เกาหลีใต้
2002
รายละเอียด
กว่างโจว, ประเทศจีน
จีน
3–1
เกาหลีใต้

เนเธอร์แลนด์

ฮ่องกง
2004
รายละเอียด
จาการ์ตา, ประเทศอินโดนีเซีย
จีน
3–1
เกาหลีใต้

เดนมาร์ก

ญี่ปุ่น
2006
รายละเอียด
เซ็นได และ โตเกียว, ประเทศญี่ปุ่น
จีน
3–0
เนเธอร์แลนด์

เยอรมนี

จีนไทเป
2008
รายละเอียด
จาการ์ตา, ประเทศอินโดนีเซีย
จีน
3–0
อินโดนีเซีย

เกาหลีใต้

เยอรมนี
2010
รายละเอียด
กัวลาลัมเปอร์, ประเทศมาเลเซีย
เกาหลีใต้
3–1
จีน

ญี่ปุ่น

อินโดนีเซีย
2012
รายละเอียด
อู่ฮั่น, ประเทศจีน
จีน
3–0
เกาหลีใต้

ไทย

ญี่ปุ่น
2014
รายละเอียด
นิวเดลี, ประเทศอินเดีย
จีน
3–1
ญี่ปุ่น

อินเดีย

เกาหลีใต้
2016
รายละเอียด
คุนชาน, ประเทศจีน
จีน
3–1
เกาหลีใต้

อินเดีย

ญี่ปุ่น
2018
รายละเอียด
กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย
ญี่ปุ่น
3–0
ไทย

เกาหลีใต้

จีน
2020
รายละเอียด
ออร์ฮูส, ประเทศเดนมาร์ก
จีน
3–1
ญี่ปุ่น

เกาหลีใต้

ไทย
2022
รายละเอียด
กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย
เกาหลีใต้
3–2
จีน

ญี่ปุ่น

ไทย

ตารางเหรียญการแข่งขัน

ทีมชนะเลิศรองชนะเลิศ
 จีน15 (1984, 1986, 1988, 1990, 1992, 1998, 2000, 2002*, 2004, 2006, 2008, 2012*, 2014, 2016*, 2020)3 (1994, 1996, 2010)
 ญี่ปุ่น6 (1966, 1969*, 1972*, 1978, 1981*, 2018)3 (1975, 2014, 2020, 2022)
 อินโดนีเซีย3 (1975*, 1994*, 1996)7 (1969, 1972, 1978, 1981, 1986*, 1998, 2008*)
 สหรัฐ3 (1957, 1960*, 1963*)1 (1966)
 เกาหลีใต้2 (2010, 2022)7 (1988, 1990, 1992, 2002, 2004, 2012, 2016)
 เดนมาร์ก3 (1957, 1960, 2000)
 อังกฤษ2 (1963, 1984)
 เนเธอร์แลนด์1 (2006)
 ไทย1 (2018*)
* = เจ้าภาพ

อ้างอิง

🔥 Top keywords: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคลหน้าหลักพระสุนทรโวหาร (ภู่)องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024สไปร์ท (แร็ปเปอร์)ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024พุ่มพวง ดวงจันทร์ดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)อีดิลอัฎฮาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ดอกเตอร์ไคลแมกซ์ ปุจฉาพาเสียวราชวงศ์จักรีลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยรายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีหม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคลทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระอภัยมณีหม่อมเจ้ามงคลเฉลิม ยุคลหม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรหลานม่าอริยสัจ 4ตารางธาตุนิราศภูเขาทองรายชื่อเครื่องดนตรีเฌอมาวีร์ สุวรรณภาณุโชคประเทศไทยอาณาจักรอยุธยาปิติ ภิรมย์ภักดีวอลเลย์บอลวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย