ยุทธการที่อิมผาล

ยุทธการที่อิมผาล (มณีปุระ: Japan Laan[1][2], แปลตรงตัว'การบุกครองของญี่ปุ่น') เกิดขึ้นในภูมิภาคบริเวณรอบเมืองอิมผาล เมืองหลวงของรัฐมณีปุระในอินเดียภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแต่เดือนมีนาคม ถึง เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1944 กองทัพญี่ปุ่นได้พยายามที่จะทำลายกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรที่อิมผาลและเข้ารุกรานอินเดีย แต่กลับถูกขับไล่ให้กลับไปยังพม่าด้วยความสูญเสียอย่างหนัก เมื่อรวมกับยุทธการที่โกหิมาบนถนนซึ่งกองกำลังฝ่ายสัมพันธมิตรที่ถูกโอบล้อมได้รับการปลดปล่อยในเวลาเดียวกัน ยุทธการครั้งนี้ถือว่าเป็นจุดพลิกผันของการทัพพม่า ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเขตสงครามเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสงครามโลกครั้งที่สอง ความปราชัยของญี่ปุ่นที่โกหิมาและอิมผาลถือว่าครั้งใหญ่ที่สุด[4] โดยฝ่ายญี่ปุ่นได้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมากอันเป็นผลมาจากความอดอยาก โรคภัยและความเหนื่อยล้าที่ต้องเผชิญในช่วงระหว่างการล่าถอย จากการโหวตในการแข่งขันที่ถูกดำเนินโดยพิพิธภัณฑ์กองทัพบกแห่งชาติอังกฤษ ยุทธการที่อิมผาลได้รับการยกย่องว่าเป็นยุทธการที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของอังกฤษใน ค.ศ. 2013[5][6]

ยุทธการที่อิมผาล
(มณีปุระ: Japan Laan[1][2]),
ส่วนหนึ่งของ ปฏิบัติการอู-โกในช่วงการทัพพม่าในเขตสงครามเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสงครามโลกครั้งที่สอง

ทหารชาวกุรข่าได้เข้ารุกคืบพร้อมกับรถถังแกรนต์ เพื่อกวาดล้างพวกญี่ปุ่นจากถนนอิมผาล-โกหิมาในบริติชอินเดียตะวันออกเฉียงเหนือ
วันที่8 มีนาคม – 3 กรกฎาคม ค.ศ. 1944
สถานที่
อิมผาล, ราชอาณาจักรมณีปุระ, อินเดีย
24°49′00″N 93°57′00″E / 24.8167°N 93.9500°E / 24.8167; 93.9500
ผลบริติชอินเดียได้รับชัยชนะ
คู่สงคราม

สหราชอาณาจักร จักรวรรดิอังกฤษ

จักรวรรดิญี่ปุ่น ญี่ปุ่น

  • แม่แบบ:Country data อซาด ฮินด์
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สหราชอาณาจักร วิลเลียม สลิม
สหราชอาณาจักร จอฟฟรีย์ สคูนส์
จักรวรรดิญี่ปุ่น มาซาคาสึ คาวาเบะ
จักรวรรดิญี่ปุ่น เรเนีย มุตะกุจิ
อินเดีย สุภาษ จันทระ โพส
กำลัง
4 กองพลทหารราบ
1 กองพลน้อยยานเกราะ
1 กองพลน้อยพลร่ม
3 กองพลทหารราบ
1 กรมทหารรถถัง
2 กรมทหารอินเดีย
ความสูญเสีย
เสียชีวิตและบาดเจ็บ 12,603 นาย[3]เสียชีวิตและบาดเจ็บ 54,879 นาย

สถานการณ์

พื้นหลัง

มีนาคม ค.ศ.1943 กองทัพญี่ปุ่นในพม่าได้จัดระเบียบสายบัญชาการใหม่ในนาม "กองทัพประจำพม่า"

โดยมีพลโทมาซาคาสึ คาวาเบะเป็นผู้บัญชาการ

อ้างอิง

🔥 Top keywords: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคลหน้าหลักพระสุนทรโวหาร (ภู่)องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024สไปร์ท (แร็ปเปอร์)ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024พุ่มพวง ดวงจันทร์ดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)อีดิลอัฎฮาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ดอกเตอร์ไคลแมกซ์ ปุจฉาพาเสียวราชวงศ์จักรีลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยรายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีหม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคลทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระอภัยมณีหม่อมเจ้ามงคลเฉลิม ยุคลหม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรหลานม่าอริยสัจ 4ตารางธาตุนิราศภูเขาทองรายชื่อเครื่องดนตรีเฌอมาวีร์ สุวรรณภาณุโชคประเทศไทยอาณาจักรอยุธยาปิติ ภิรมย์ภักดีวอลเลย์บอลวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย