ฟุตบอลโลก 2022

การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งที่ 22

ฟุตบอลโลก 2022 (อังกฤษ: 2022 FIFA World Cup; อาหรับ: 2022 كأس العالم لكرة القدم, Kaʾs al-ʿālam li-kurat al-qadam 2022) เป็นกำหนดการแข่งขันฟุตบอลโลก ครั้งที่ 22 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลชายทีมชาติของทุกชาติสมาชิกฟีฟ่าที่จะจัดขึ้นทุกสี่ปี โดยครั้งนี้จัดขึ้นที่ประเทศกาตาร์ ตั้งแต่วันที่ 20 พฤศจิกายน ถึง 18 ธันวาคม 2022 นี่จะเป็นฟุตบอลโลกครั้งแรกที่จัดในโลกอาหรับและโลกมุสลิม[4] และเป็นครั้งที่สองที่จัดในทวีปเอเชียต่อจากฟุตบอลโลก 2002 ที่เกาหลีใต้และญี่ปุ่น[a] นอกจากนี้ ยังเป็นครั้งสุดท้ายที่มีทีมร่วมแข่งขัน 32 ทีม เนื่องจากจะมีการเพิ่มขึ้นเป็น 48 ทีมในฟุตบอลโลก 2026 ทีมชาติฝรั่งเศสเป็นแชมป์เก่าจากการแข่งขันครั้งที่ผ่านมา[5] เนื่องด้วยสภาพอากาศที่ร้อนจัดในฤดูร้อนของประเทศกาตาร์ ฟุตบอลโลกครั้งนี้จะจัดขึ้นตั้งแต่ปลายเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนธันวาคม ทำให้เป็นครั้งแรกที่จะไม่จัดในช่วงกลางปี โดยกรอบเวลาของการแข่งขันจะลดลงเหลือ 29 วัน[6]

ฟุตบอลโลก 2022
كأس العالم لكرة القدم 2022
Kaʾs al-ʿālam li-kurrat al-qadam 2022
Qatar 2022
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพกาตาร์
วันที่20 พฤศจิกายน – 18 ธันวาคม 2022 [1][2] [3]
ทีม32 (จาก 5 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 5 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา (สมัยที่ 3)
รองชนะเลิศธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
อันดับที่ 3ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย
อันดับที่ 4ธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน64
จำนวนประตู172 (2.69 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม3,404,252 (53,191 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดฝรั่งเศส กีลียาน อึมบาเป
(8 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมอาร์เจนตินา ลิโอเนล เมสซิ
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมอาร์เจนตินา เอมิเลียโน มาร์ติเนซ
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยมอาร์เจนตินา เอนโซ เฟร์นันเดซ
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
2018
2026

มีการกล่าวหาว่ามีการทุจริตเกี่ยวกับการที่ประเทศกาตาร์ได้รับสิทธิ์เป็นเจ้าภาพ การสอบสวนภายในและรายงานของฟีฟ่าทำให้ประเทศกาตาร์พ้นต่อความผิดใด ๆ แต่มิเชล เจ. การ์ซิอา หัวหน้าเจ้าพนักงานสืบสวน ก็ได้อธิบายรายงานของฟีฟ่าเกี่ยวกับการไต่สวนของเขาว่ามี "การเป็นตัวแทนที่ไม่สมบูรณ์และผิดพลาดจำนวนมาก"[7] เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2015 อัยการสมาพันธรัฐสวิสได้เปิดการสอบสวนเรื่องการทุจริตและการฟอกเงินที่เกี่ยวข้องกับการเสนอตัวเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลก 2018 และ 2022[8][9] เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2018 เซ็พ บลัทเทอร์ อดีตประธานฟีฟ่า อ้างว่าประเทศกาตาร์ใช้ "ปฏิบัติการดำ" โดยชี้ว่าคณะกรรมการประมูลโกงเพื่อชิงสิทธิ์การเป็นเจ้าภาพ[10] นอกจากนี้ ประเทศกาตาร์เผชิญคำวิจารณ์หนักจากการปฏิบัติต่อแรงงานต่างด้าวที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมตัวจัดการแข่งชัน แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ระบุว่ามีการบังคับแรงงาน และมีแรงงานข้ามชาติหลายร้อยหรือหลายพันคนเสียชีวิตอันเป็นผลมาจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน และสภาพการทำงานที่ประมาทและไร้มนุษยธรรม แม้ว่าจะมีการร่างมาตรฐานสวัสดิการแรงงานในปี 2014

การคัดเลือกเจ้าภาพ

การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลก 2022
(เสียงข้างมาก คือ 12 เสียง)
ประเทศคะแนนเสียง
รอบ 1รอบ 2รอบ 3รอบ 4
กาตาร์11101114
สหรัฐอเมริกา3568
เกาหลีใต้455ตกรอบ
ญี่ปุ่น32ตกรอบ
ออสเตรเลีย1ตกรอบ

ทีม

ทีมที่ผ่านการคัดเลือก

หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บเป็นตำแหน่งสุดท้ายในอันดับโลกฟีฟ่าก่อนการแข่งขัน[11]

การจับสลาก

การจับสลากรอบสุดท้ายจัดขึ้นที่ศูนย์นิทรรศการและการประชุมโดฮา ในกรุงโดฮา ประเทศกาตาร์[12] เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2022[13] เวลา 19:00 น. (เวลามาตรฐานอาระเบีย) ก่อนที่จะการแข่งขันรอบคัดเลือกจะเสร็จสิ้น ผู้ชนะสองทีมจากเพลย์ออฟระหว่างสมาพันธ์และผู้ชนะจากสายเอของเพลย์ออฟโซนยุโรปจึงยังไม่เป็นที่ทราบกันขณะจับสลาก[14]

โถ 1โถ 2โถ 3โถ 4

 กาตาร์ (51) (เจ้าภาพ)
 บราซิล (1)
 เบลเยียม (2)
 ฝรั่งเศส (3)
 อาร์เจนตินา (4)
 อังกฤษ (5)
 สเปน (7)
 โปรตุเกส (8)

 เม็กซิโก (9)
 เนเธอร์แลนด์ (10)
 เดนมาร์ก (11)
 เยอรมนี (12)
 อุรุกวัย (13)
 สวิตเซอร์แลนด์ (14)
 สหรัฐ (15)
 โครเอเชีย (16)

 เซเนกัล (20)
 อิหร่าน (21)
 ญี่ปุ่น (23)
 โมร็อกโก (24)
 เซอร์เบีย (25)
 โปแลนด์ (26)
 เกาหลีใต้ (29)
 ตูนิเซีย (35)

 แคเมอรูน (37)
 แคนาดา (38)
 เอกวาดอร์ (46)
 ซาอุดีอาระเบีย (49)
 กานา (60)
 เวลส์ (18)[b]
 คอสตาริกา (31)[c]
 ออสเตรเลีย (42)[d]

ผู้เล่น

ผู้ตัดสิน

เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ฟีฟ่าได้ประกาศรายชื่อผู้ตัดสิน 36 คน ผู้ช่วยผู้ตัดสิน 69 คน และผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ 24 คนสำหรับการแข่งขัน[15][16] เป็นครั้งแรกที่ผู้ตัดสินหญิงจะเป็นผู้ตัดสินเกมในการแข่งขันรายการใหญ่ชาย

Stéphanie Frappart จากฝรั่งเศส, Salima Mukansanga จากรวันดา และ Yoshimi Yamashita จากญี่ปุ่น กลายเป็นผู้ตัดสินหญิงคนแรกที่ได้รับการแต่งตั้งให้เข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลโลกชาย Frappart ดูแลการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิงปี 2019 รอบชิงชนะเลิศ[17]

สนามแข่งขัน

ลูซัยล์อัลเคาร์โดฮา
สนามกีฬานานาชาติลูซัยล์สนามกีฬาอัลบัยต์สนามกีฬา 974สนามกีฬาอัษษุมามะฮ์
ความจุ: 80,000 ที่นั่ง
ความจุ: 60,000 ที่นั่ง[18]ความจุ: 40,000 ที่นั่ง[19]
ความจุ: 40,000 ที่นั่ง[20]
เมืองเจ้าภาพในกาตาร์
ลูซัยล์
อัลเคาร์
อัลวักเราะฮ์
สนามกีฬาในพื้นที่โดฮา
นครการศึกษา
เคาะลีฟะฮ์
อัษษุมามะฮ์
อัรร็อยยานอัลวักเราะฮ์
สนามกีฬานานาชาติเคาะลีฟะฮ์สนามกีฬานครการศึกษาสนามกีฬาอะห์มัด บิน อะลี[e]สนามกีฬาอัลญะนูบ
ความจุ: 45,416 ที่นั่ง[21]ความจุ: 45,350 ที่นั่ง[22]ความจุ: 44,740 ที่นั่ง[23]ความจุ: 40,000 ที่นั่ง[24]

รอบแบ่งกลุ่ม

กลุ่มเอ

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  เนเธอร์แลนด์321051+47ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2  เซเนกัล320154+16
3  เอกวาดอร์311143+14
4  กาตาร์ (H)300317−60
กาตาร์  0–2  เอกวาดอร์
รายงาน
สนามกีฬาอัลบัยต์ อัลเคาร์
ผู้ชม: 67,372 คน
ผู้ตัดสิน: ดานีเอเล ออร์ซาโต (อิตาลี)
เซเนกัล  0–2  เนเธอร์แลนด์
รายงาน
สนามกีฬาอัษษุมามะฮ์ โดฮา
ผู้ชม: 41,721 คน
ผู้ตัดสิน: วิลตง ซังไปยู (บราซิล)

กาตาร์  1–3  เซเนกัล
  • มูนตารี  78'
รายงาน
  • ดียา  41'
  • ดีเยดียู  48'
  • เบ. เดียง  84'
สนามกีฬาอัษษุมามะฮ์ โดฮา
ผู้ชม: 41,797 คน
ผู้ตัดสิน: อันโตนิโอ มาเตว ลาโอซ (สเปน)
เนเธอร์แลนด์  1–1  เอกวาดอร์
รายงาน
  • บาเลนเซีย  49'
ผู้ชม: 44,833 คน
ผู้ตัดสิน: มุศเฏาะฟา ฆุรบาล (แอลจีเรีย)

เอกวาดอร์  1–2  เซเนกัล
รายงาน
ผู้ชม: 44,569 คน
ผู้ตัดสิน: เกลม็อง ตูร์แป็ง (ฝรั่งเศส)
เนเธอร์แลนด์  2–0  กาตาร์
รายงาน
สนามกีฬาอัลบัยต์ อัลเคาร์
ผู้ชม: 66,784 คน
ผู้ตัดสิน: บาการี กัสซามา (แกมเบีย)

กลุ่มบี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  อังกฤษ321092+77ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2  สหรัฐ312021+15
3  อิหร่าน310247−33
4  เวลส์301216−51
อังกฤษ  6–2  อิหร่าน
รายงาน
ผู้ชม: 45,334 คน
ผู้ตัดสิน: ราฟาแอล เกลาส์ (บราซิล)
สหรัฐ  1–1  เวลส์
  • เวอาห์  36'
รายงาน
ผู้ชม: 43,418 คน
ผู้ตัดสิน: อับดุรเราะห์มาน อัลญาซิม (กาตาร์)

เวลส์  0–2  อิหร่าน
รายงาน
  • เชชมี  90+8'
  • เรซอยยอน  90+11'
ผู้ชม: 40,875 คน
ผู้ตัดสิน: มาริโอ เอสโกบาร์ (กัวเตมาลา)
อังกฤษ  0–0  สหรัฐ
รายงาน
สนามกีฬาอัลบัยต์ อัลเคาร์
ผู้ชม: 68,463 คน
ผู้ตัดสิน: เฮซุส บาเลนซูเอลา (เวเนซุเอลา)

เวลส์  0–3  อังกฤษ
รายงาน
ผู้ชม: 44,297 คน
ผู้ตัดสิน: สลาวกอ วินชิช (สโลวีเนีย)
อิหร่าน  0–1  สหรัฐ
รายงาน
สนามกีฬาอัษษุมามะฮ์ โดฮา
ผู้ชม: 42,127 คน
ผู้ตัดสิน: อันโตนิโอ มาเตว ลาโอซ (สเปน)

กลุ่มซี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  อาร์เจนตินา320152+36ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2  โปแลนด์31112204
3  เม็กซิโก311123−14
4  ซาอุดีอาระเบีย310235−23
อาร์เจนตินา  1–2  ซาอุดีอาระเบีย
รายงาน
  • อัชชะฮ์รี  48'
  • ซาลิม อัดเดาซะรี  53'
ผู้ชม: 88,012 คน
ผู้ตัดสิน: สลาวกอ วินชิช (สโลวีเนีย)
เม็กซิโก  0–0  โปแลนด์
รายงาน
ผู้ชม: 39,369 คน
ผู้ตัดสิน: คริส บีท (ออสเตรเลีย)

โปแลนด์  2–0  ซาอุดีอาระเบีย
รายงาน
สนามกีฬานครการศึกษา อัรร็อยยาน
ผู้ชม: 44,259 คน
ผู้ตัดสิน: วิลตง ซังไปยู (บราซิล)
อาร์เจนตินา  2–0  เม็กซิโก
รายงาน
ผู้ชม: 88,966 คน
ผู้ตัดสิน: ดานีเอเล ออร์ซาโต (อิตาลี)

โปแลนด์  0–2  อาร์เจนตินา
รายงาน
ผู้ชม: 44,089 คน
ผู้ตัดสิน: ดันนี มักเกอลี (เนเธอร์แลนด์)
ซาอุดีอาระเบีย  1–2  เม็กซิโก
  • ซาลิม อัดเดาซะรี  90+5'
รายงาน
  • มาร์ติน  47'
  • ชาเบซ  52'
ผู้ชม: 84,985 คน
ผู้ตัดสิน: ไมเคิล ออลิเวอร์ (อังกฤษ)

กลุ่มดี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  ฝรั่งเศส320163+36ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2  ออสเตรเลีย320134−16
3  ตูนิเซีย31111104
4  เดนมาร์ก301213−21
เดนมาร์ก  0–0  ตูนิเซีย
รายงาน
สนามกีฬานครการศึกษา อัรร็อยยาน
ผู้ชม: 42,925 คน
ผู้ตัดสิน: เซซาร์ อาร์ตูโร ราโมส (เม็กซิโก)
ฝรั่งเศส  4–1  ออสเตรเลีย
รายงาน
  • กู๊ดวิน  9'
สนามกีฬาอัลญะนูบ อัลวักเราะฮ์
ผู้ชม: 40,875 คน
ผู้ตัดสิน: วิกโตร์ โกมึช (แอฟริกาใต้)

ตูนิเซีย  0–1  ออสเตรเลีย
รายงาน
  • จูก  23'
สนามกีฬาอัลญะนูบ อัลวักเราะฮ์
ผู้ชม: 41,823 คน
ผู้ตัดสิน: ดานีเอล ซีเบิร์ท (เยอรมนี)
ฝรั่งเศส  2–1  เดนมาร์ก
รายงาน
ผู้ชม: 42,860 คน
ผู้ตัดสิน: ชือมอน มาร์ชีญัก (โปแลนด์)

ออสเตรเลีย  1–0  เดนมาร์ก
  • เล็กกี  60'
รายงาน
สนามกีฬาอัลญะนูบ อัลวักเราะฮ์
ผู้ชม: 41,232 คน
ผู้ตัดสิน: มุศเฏาะฟา ฆุรบาล (แอลจีเรีย)
ตูนิเซีย  1–0  ฝรั่งเศส
  • ค็อซรี  58'
รายงาน
สนามกีฬานครการศึกษา อัรร็อยยาน
ผู้ชม: 43,627 คน
ผู้ตัดสิน: แมทธิว คอนเกอร์ (นิวซีแลนด์)

กลุ่มอี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  ญี่ปุ่น320143+16ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2  สเปน311193+64
3  เยอรมนี311165+14
4  คอสตาริกา3102311−83
สเปน  7–0  คอสตาริกา
รายงาน
สนามกีฬาอัษษุมามะฮ์ โดฮา
ผู้ชม: 40,013 คน
ผู้ตัดสิน: มุฮัมมัด อับดุลลอฮ์ ฮะซัน มุฮัมมัด (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)

ญี่ปุ่น  0–1  คอสตาริกา
รายงาน
  • ฟูเลร์  81'
ผู้ชม: 41,479 คน
ผู้ตัดสิน: ไมเคิล ออลิเวอร์ (อังกฤษ)
สเปน  1–1  เยอรมนี
รายงาน
สนามกีฬาอัลบัยต์ อัลเคาร์
ผู้ชม: 68,895 คน
ผู้ตัดสิน: ดันนี มักเกอลี (เนเธอร์แลนด์)

ญี่ปุ่น  2–1  สเปน
รายงาน
ผู้ชม: 44,851 คน
ผู้ตัดสิน: วิกโตร์ โกมึช (แอฟริกาใต้)
คอสตาริกา  2–4  เยอรมนี
รายงาน
สนามกีฬาอัลบัยต์ อัลเคาร์
ผู้ชม: 67,054 คน
ผู้ตัดสิน: สเตฟานี ฟราปาร์ (ฝรั่งเศส)

กลุ่มเอฟ

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  โมร็อกโก321041+37ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2  โครเอเชีย312041+35
3  เบลเยียม311112−14
4  แคนาดา300327−50
โมร็อกโก  0–0  โครเอเชีย
รายงาน
สนามกีฬาอัลบัยต์ อัลเคาร์
ผู้ชม: 59,407 คน
ผู้ตัดสิน: เฟร์นันโด ราปาลินิ (อาร์เจนตินา)
เบลเยียม  1–0  แคนาดา
รายงาน
ผู้ชม: 40,432 คน
ผู้ตัดสิน: จันนี ซีกัซเว (แซมเบีย)

เบลเยียม  0–2  โมร็อกโก
รายงาน
  • ศอบีรี  73'
  • อะบูคลาล  90+2'
สนามกีฬาอัษษุมามะฮ์ โดฮา
ผู้ชม: 43,738 คน
ผู้ตัดสิน: เซซาร์ อาร์ตูโร ราโมส (เม็กซิโก)
โครเอเชีย  4–1  แคนาดา
รายงาน
ผู้ชม: 44,374 คน
ผู้ตัดสิน: อันเดรส มาตอนเต (อุรุกวัย)

โครเอเชีย  0–0  เบลเยียม
รายงาน
ผู้ชม: 43,984 คน
ผู้ตัดสิน: แอนโทนี เทย์เลอร์ (อังกฤษ)
แคนาดา  1–2  โมร็อกโก
  • อะกัรด์  40' (เข้าประตูตัวเอง)
รายงาน
สนามกีฬาอัษษุมามะฮ์ โดฮา
ผู้ชม: 43,102 คน
ผู้ตัดสิน: ราฟาแอล เกลาส์ (บราซิล)

กลุ่มจี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  บราซิล320131+26ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2  สวิตเซอร์แลนด์320143+16
3  แคเมอรูน31114404
4  เซอร์เบีย301258−31
สวิตเซอร์แลนด์  1–0  แคเมอรูน
รายงาน
สนามกีฬาอัลญะนูบ อัลวักเราะฮ์
ผู้ชม: 39,089 คน
ผู้ตัดสิน: ฟากุนโด เตโล (อาร์เจนตินา)
บราซิล  2–0  เซอร์เบีย
รายงาน
ผู้ชม: 88,103 คน
ผู้ตัดสิน: แอลีเรซอ แฟฆอนี (อิหร่าน)

แคเมอรูน  3–3  เซอร์เบีย
รายงาน
สนามกีฬาอัลญะนูบ อัลวักเราะฮ์
ผู้ชม: 39,789 คน
ผู้ตัดสิน: มุฮัมมัด อับดุลลอฮ์ (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)
บราซิล  1–0  สวิตเซอร์แลนด์
รายงาน
ผู้ชม: 43,649 คน
ผู้ตัดสิน: อิบัน บาร์ตอน (เอลซัลวาดอร์)

เซอร์เบีย  2–3  สวิตเซอร์แลนด์
รายงาน
ผู้ชม: 41,378 คน
ผู้ตัดสิน: เฟร์นันโด ราปาลินิ (อาร์เจนตินา)
แคเมอรูน  1–0  บราซิล
รายงาน
ผู้ชม: 85,986 คน
ผู้ตัดสิน: อิสมาอีล อัลฟัตห์ (สหรัฐ)

กลุ่มเอช

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  โปรตุเกส320164+26ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2  เกาหลีใต้31114404
3  อุรุกวัย31112204
4  กานา310257−23
อุรุกวัย  0–0  เกาหลีใต้
รายงาน
สนามกีฬานครการศึกษา อัรร็อยยาน
ผู้ชม: 41,663 คน
ผู้ตัดสิน: เกลม็อง ตูร์แป็ง (ฝรั่งเศส)
โปรตุเกส  3–2  กานา
รายงาน
ผู้ชม: 42,662 คน
ผู้ตัดสิน: อิสมาอีล อัลฟัตห์ (สหรัฐ)

เกาหลีใต้  2–3  กานา
รายงาน
  • ซาลีซู  24'
  • คูดุส  34'68'
สนามกีฬานครการศึกษา อัรร็อยยาน
ผู้ชม: 43,983 คน
ผู้ตัดสิน: แอนโทนี เทย์เลอร์ (อังกฤษ)
โปรตุเกส  2–0  อุรุกวัย
รายงาน
ผู้ชม: 88,668 คน
ผู้ตัดสิน: แอลีเรซอ แฟฆอนี (อิหร่าน)

กานา  0–2  อุรุกวัย
รายงาน
  • เด อาร์รัสกาเอตา  26'32'
สนามกีฬาอัลญะนูบ อัลวักเราะฮ์
ผู้ชม: 43,443 คน
ผู้ตัดสิน: ดานีเอล ซีเบิร์ท (เยอรมนี)
เกาหลีใต้  2–1  โปรตุเกส
รายงาน
สนามกีฬานครการศึกษา อัรร็อยยาน
ผู้ชม: 44,097 คน
ผู้ตัดสิน: ฟากุนโด เตโล (อาร์เจนตินา)

รอบแพ้คัดออก

สายการแข่งขัน

 
รอบ 16 ทีมรอบก่อนรองฯรอบรองฯชิงชนะเลิศ
 
              
 
3 ธันวาคม – อัรร็อยยาน (เคาะลีฟะฮ์)
 
 
 เนเธอร์แลนด์3
 
9 ธันวาคม – ลูซัยล์
 
 สหรัฐ1
 
 เนเธอร์แลนด์2 (3)
 
3 ธันวาคม – อัรร็อยยาน (อะห์มัด บิน อะลี)
 
 อาร์เจนตินา
(ลูกโทษ)
2 (4)
 
 อาร์เจนตินา2
 
13 ธันวาคม – ลูซัยล์
 
 ออสเตรเลีย1
 
 อาร์เจนตินา3
 
5 ธันวาคม – อัลวักเราะฮ์
 
 โครเอเชีย0
 
 ญี่ปุ่น1 (1)
 
9 ธันวาคม – อัรร็อยยาน (นครการศึกษา)
 
 โครเอเชีย
(ลูกโทษ)
1 (3)
 
 โครเอเชีย
(ลูกโทษ)
1 (4)
 
5 ธันวาคม – โดฮา (974)
 
 บราซิล1 (2)
 
 บราซิล4
 
18 ธันวาคม – ลูซัยล์
 
 เกาหลีใต้1
 
 อาร์เจนตินา
(ลูกโทษ)
3 (4)
 
4 ธันวาคม – อัลเคาร์
 
 ฝรั่งเศส3 (2)
 
 อังกฤษ3
 
10 ธันวาคม – อัลเคาร์
 
 เซเนกัล0
 
 อังกฤษ1
 
4 ธันวาคม – โดฮา (อัษษุมามะฮ์)
 
 ฝรั่งเศส2
 
 ฝรั่งเศส3
 
14 ธันวาคม – อัลเคาร์
 
 โปแลนด์1
 
 ฝรั่งเศส2
 
6 ธันวาคม – อัรร็อยยาน (นครการศึกษา)
 
 โมร็อกโก0ชิงที่สาม
 
 โมร็อกโก
(ลูกโทษ)
0 (3)
 
10 ธันวาคม – โดฮา (อัษษุมามะฮ์)17 ธันวาคม – อัรร็อยยาน (เคาะลีฟะฮ์)
 
 สเปน0 (0)
 
 โมร็อกโก1  โครเอเชีย2
 
6 ธันวาคม – ลูซัยล์
 
 โปรตุเกส0  โมร็อกโก1
 
 โปรตุเกส6
 
 
 สวิตเซอร์แลนด์1
 

รอบ 16 ทีมสุดท้าย

เนเธอร์แลนด์  3–1  สหรัฐ
รายงาน
  • ไรต์  76'
ผู้ชม: 44,846 คน
ผู้ตัดสิน: วิลตง ซังไปยู (บราซิล)

อาร์เจนตินา  2–1  ออสเตรเลีย
รายงาน
ผู้ชม: 45,032 คน
ผู้ตัดสิน: ชือมอน มาร์ชีญัก (โปแลนด์)

ฝรั่งเศส  3–1  โปแลนด์
รายงาน
สนามกีฬาอัษษุมามะฮ์ โดฮา
ผู้ชม: 40,989 คน
ผู้ตัดสิน: เฮซุส บาเลนซูเอลา (เวเนซุเอลา)

อังกฤษ  3–0  เซเนกัล
รายงาน
สนามกีฬาอัลบัยต์ อัลเคาร์
ผู้ชม: 65,985 คน
ผู้ตัดสิน: อิบัน บาร์ตอน (เอลซัลวาดอร์)

ญี่ปุ่น  1–1 (ต่อเวลาพิเศษ)  โครเอเชีย
  • มาเอดะ  43'
รายงาน
ลูกโทษ
1–3
สนามกีฬาอัลญะนูบ อัลวักเราะฮ์
ผู้ชม: 42,523 คน
ผู้ตัดสิน: อิสมาอีล อัลฟัตห์ (สหรัฐ)

บราซิล  4–1  เกาหลีใต้
รายงาน
  • แพ็ก ซึง-โฮ  76'
ผู้ชม: 43,847 คน
ผู้ตัดสิน: เกลม็อง ตูร์แป็ง (ฝรั่งเศส)

โมร็อกโก  0–0 (ต่อเวลาพิเศษ)  สเปน
รายงาน
ลูกโทษ
3–0
สนามกีฬานครการศึกษา อัรร็อยยาน
ผู้ชม: 44,667 คน
ผู้ตัดสิน: เฟร์นันโด ราปาลินิ (อาร์เจนตินา)

โปรตุเกส  6–1  สวิตเซอร์แลนด์
รายงาน
ผู้ชม: 83,720 คน
ผู้ตัดสิน: เซซาร์ อาร์ตูโร ราโมส (เม็กซิโก)

รอบก่อนรองชนะเลิศ

โครเอเชีย  1–1 (ต่อเวลาพิเศษ)  บราซิล
  • เปตกอวิช  117'
รายงาน
ลูกโทษ
4–2
สนามกีฬานครการศึกษา อัรร็อยยาน
ผู้ชม: 43,893 คน
ผู้ตัดสิน: ไมเคิล ออลิเวอร์ (อังกฤษ)


โมร็อกโก  1–0  โปรตุเกส
  • อันนุศ็อยรี  42'
รายงาน
สนามกีฬาอัษษุมามะฮ์ โดฮา
ผู้ชม: 44,198 คน
ผู้ตัดสิน: ฟากุนโด เตโล (อาร์เจนตินา)

อังกฤษ  1–2  ฝรั่งเศส
รายงาน
สนามกีฬาอัลบัยต์ อัลเคาร์
ผู้ชม: 68,895 คน
ผู้ตัดสิน: วิลตง ซังไปยู (บราซิล)

รอบรองชนะเลิศ

อาร์เจนตินา  3–0  โครเอเชีย
รายงาน
ผู้ชม: 88,966 คน
ผู้ตัดสิน: ดานีเอเล ออร์ซาโต (อิตาลี)

ฝรั่งเศส  2–0  โมร็อกโก
  • เต. แอร์น็องแดซ  5'
  • กอโล มัวนี  79'
รายงาน
สนามกีฬาอัลบัยต์ อัลเคาร์
ผู้ชม: 68,294 คน
ผู้ตัดสิน: เซซาร์ อาร์ตูโร ราโมส (เม็กซิโก)

รอบชิงอันดับที่ 3

โครเอเชีย  2–1  โมร็อกโก
รายงาน
  • ดารี  9'
ผู้ชม: 44,137 คน
ผู้ตัดสิน: อับดุรเราะห์มาน อัลญาซิม (กาตาร์)

รอบชิงชนะเลิศ

รางวัล

รางวัลด้านล่างนี้ได้มอบให้หลังได้บทสรุปของการแข่งขัน. รางวัลรองเท้าทองคำ, ลูกบอลทองคำ และ ถุงมือทองคำ ได้รับการสนับสนุนจาก อาดิดาส.[25][26]

ลูกบอลทองคำลูกบอลเงินลูกบอลทองแดง
ลิโอเนล เมสซิ กีลียาน อึมบาเป ลูคา มอดริช
รองเท้าทองคำรองเท้าเงินรองเท้าทองแดง
กีลียาน อึมบาเป ลิโอเนล เมสซิ ออลีวีเย ฌีรู
8 ประตู, 2 แอสซิสต์
597 นาทีที่ลงเล่น
7 ประตู, 3 แอสซิสต์
690 นาทีที่ลงเล่น
4 ประตู, 0 แอสซิสต์
423 นาทีที่ลงเล่น
ถุงมือทองคำ
เอมิเลียโน มาร์ติเนซ
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยม
เอนโซ เฟร์นันเดซ
รางวัลฟีฟ่าแฟร์เพลย์
 อังกฤษ

สถิติ

ผู้ทำประตู

มีการทำประตู 172 ประตู จากการแข่งขัน 64 นัด เฉลี่ย 2.69 ประตูต่อนัด


การทำประตู 8 ครั้ง

การทำประตู 7 ครั้ง

การทำประตู 4 ครั้ง

การทำประตู 3 ครั้ง

การทำประตู 2 ครั้ง

การทำประตู 1 ครั้ง

การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง

แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

การตลาด

สิทธิการออกอากาศ

ดูเพิ่ม

หมายเหตุ

อ้างอิง

🔥 Top keywords: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคลหน้าหลักพระสุนทรโวหาร (ภู่)องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024สไปร์ท (แร็ปเปอร์)ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024พุ่มพวง ดวงจันทร์ดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)อีดิลอัฎฮาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ดอกเตอร์ไคลแมกซ์ ปุจฉาพาเสียวราชวงศ์จักรีลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยรายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีหม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคลทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระอภัยมณีหม่อมเจ้ามงคลเฉลิม ยุคลหม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรหลานม่าอริยสัจ 4ตารางธาตุนิราศภูเขาทองรายชื่อเครื่องดนตรีเฌอมาวีร์ สุวรรณภาณุโชคประเทศไทยอาณาจักรอยุธยาปิติ ภิรมย์ภักดีวอลเลย์บอลวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย