ฟุตบอลชายทีมชาติแคนาดา

(เปลี่ยนทางจาก ฟุตบอลทีมชาติแคนาดา)

ฟุตบอลชายทีมชาติแคนาดา (ฝรั่งเศส: Équipe du Canada de soccer masculin)[2][3][4] เป็นทีมฟุตบอลชายที่เป็นตัวแทนของประเทศแคนาดามาตั้งแต่ ค.ศ. 1924 อยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลแคนาดาซึ่งเป็นเป็นหน่วยงานที่กำกับดูแลฟุตบอลในประเทศแคนาดา พวกเขาเป็นสมาชิกฟีฟ่าตั้งแต่ ค.ศ. 1948 และเป็นสมาชิกคอนคาแคฟตั้งแต่ ค.ศ. 1961[5]

แคนาดา
Shirt badge/Association crest
ฉายาเมเปิ้ลแดง (ฉายาในภาษาไทย)
สมาคมสมาคมฟุตบอลแคนาดา
สมาพันธ์ย่อยNAFU
สมาพันธ์CONCACAF
หัวหน้าผู้ฝึกสอนMauro Biello (ชั่วคราว)
กัปตันMilan Borjan
ติดทีมชาติสูงสุดAtiba Hutchinson (104)
ทำประตูสูงสุดไคล์ แลริน (28)
สนามเหย้าหลายแห่ง
รหัสฟีฟ่าCAN
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 48 เพิ่มขึ้น 1 (มิถุนายน 20, 2024)[1]
อันดับสูงสุด33 (กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022)
อันดับต่ำสุด122 (สิงหาคม ค.ศ. 2014, ตุลาคม ค.ศ. 2014)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3–2 แคนาดา ธงชาติแคนาดา
(บริสเบน ประเทศออสเตรเลีย; 7 มิถุนายน ค.ศ. 1924)
ชนะสูงสุด
ธงชาติหมู่เกาะเคย์แมน หมู่เกาะเคย์แมน 0–11 แคนาดา ธงชาติแคนาดา
(เบรดันตัน สหรัฐ; 29 มีนาคม ค.ศ. 2021)
แพ้สูงสุด
ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก 8–0 แคนาดา [[Image:{{{flag alias-Pantone}}}|22x20px|border |ธงชาติแคนาดา]]
(เม็กซิโกซิตี ประเทศเม็กซิโก; 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1993)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม3 (ครั้งแรกใน 1986)
ผลงานดีที่สุดรอบแบ่งกลุ่ม (1986 และ 2022)
โกลด์คัพ
เข้าร่วม19 (ครั้งแรกใน 1977)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (1985, 2000)
เนชันส์ลีก รอบสุดท้าย
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 2023)
ผลงานดีที่สุดรองชนะเลิศ (2023)
โกปาอาเมริกา
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 2024)
ผลงานดีที่สุดTBD (2024)
เกียรติยศ
คอนคาแคฟโกลด์คัพ
เหรียญทอง - ชนะเลิศอเมริกาเหนือ 1985ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศสหรัฐ 2000ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3สหรัฐ 2002ทีม
กีฬาโอลิมปิก
เหรียญทอง - ชนะเลิศเซนต์หลุยส์ 1904[a] ทีม[b]
เว็บไซต์เว็บไซต์ทางการ

ความสำเร็จที่โดดเด่นที่สุดของทีมชาติแคนาดาคือการชนะเลิศคอนคาแคฟแชมเปียนชิป 1985 ทำให้ได้สิทธิ์เข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลโลก 1986[6] และชนะเลิศ คอนคาแคฟโกลด์คัพ 2000 จนได้สิทธิ์เข้าร่วมแข่งขันฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2001[7] แคนาดาเป็นเพียงชาติเดียวที่ชนะเลิศคอนคาแคฟโกลด์คัพนอกเหนือจากมหาอำนาจของทวีปอย่างเม็กซิโกและสหรัฐ[8] พวกเขายังคว้าเหรียญทองในการแข่งขันฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1904[9]

ทีมชาติแคนาดาเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลโลกเป็นครั้งที่สองในปี 2022 และจะเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลก 2026 ร่วมกับ สหรัฐและเม็กซิโก

สนาม

บีซีเพลซ แวนคูเวอร์
บีเอ็มโอฟีลด์ โทรอนโต
ทิมฮอร์ตันส์ฟีลด์ แฮมิลตัน
สนามกีฬาเครือจักรภพ เอ็ดมันตัน

ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก ทีมชาติแคนาดาใช้บีเอ็มโอฟีลด์ในโทรอนโต, สนามกีฬาเครือจักรภพในเอ็ดมันตัน และทิมฮอร์ตันส์ฟีลด์ในแฮมิลตัน เป็นสนามเหย้า[10] บีเอ็มโอฟีลด์เป็นสนามฟุตบอลที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ รองลงมาเป็นสนามกีฬาซาปูโตในมอนทรีออล

ชุดประจำทีม

ชุดแบบที่หนึ่ง
1986
1991-92
1993-95
1999
2000
2000-01
2002-03
2006
2008
2011
2012
2015
2016-17
2018
2019
2020
ชุดแบบที่สอง
1986
1991-92
2000
2000-01
2002-03
2006
2008
2011
2012
2015
2015-17
2018
2019
2020

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/> ที่สอดคล้องกัน

🔥 Top keywords: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคลหน้าหลักพระสุนทรโวหาร (ภู่)องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024สไปร์ท (แร็ปเปอร์)ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024พุ่มพวง ดวงจันทร์ดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)อีดิลอัฎฮาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ดอกเตอร์ไคลแมกซ์ ปุจฉาพาเสียวราชวงศ์จักรีลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยรายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีหม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคลทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระอภัยมณีหม่อมเจ้ามงคลเฉลิม ยุคลหม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรหลานม่าอริยสัจ 4ตารางธาตุนิราศภูเขาทองรายชื่อเครื่องดนตรีเฌอมาวีร์ สุวรรณภาณุโชคประเทศไทยอาณาจักรอยุธยาปิติ ภิรมย์ภักดีวอลเลย์บอลวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย