รัฐไบเอิร์น

(เปลี่ยนทางจาก บาวาเรีย)

ไบเอิร์น (เยอรมัน: Bayern) หรือในภาษาอังกฤษเรียก บาวาเรีย (อังกฤษ: Bavaria) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เสรีรัฐไบเอิร์น (เยอรมัน: Freistaat Bayern, [ˈfʁaɪʃtaːt ˈbaɪɐn] ( ฟังเสียง); บาวาเรีย: Freistoot Boarn) เป็นหนึ่งในสิบหกรัฐของประเทศเยอรมนี ถือเป็นรัฐที่มีอาณาเขตใหญ่ที่สุดในประเทศเยอรมนี อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ มีประชากรประมาณ 12.5 ล้านคน[4] มีพื้นที่ประมาณ 70,548 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวงคือเมืองมิวนิก เชื้อสายประชากรเป็นชาวไบเอิร์น 6.4 ล้านคน, ฟรังโคเนีย 4.1 ล้านคน, และสวาเบีย 1.8 ล้านคน

เสรีรัฐไบเอิร์น

Freistaat Bayern  (เยอรมัน)
Freistoot Bayern  (บาวาเรีย)
ธงเสรีรัฐไบเอิร์น

ธงเสรีรัฐไบเอิร์น
ธง
ตราราชการของเสรีรัฐไบเอิร์น
ตราอาร์ม
เพลง: Bayernhymne  (เยอรมัน)
"สดุดีไบเอิร์น"
แผนที่
พิกัด: 48°46′39″N 11°25′52″E / 48.77750°N 11.43111°E / 48.77750; 11.43111
ประเทศเยอรมนี
เมืองหลวงมิวนิก
การปกครอง
 • องค์กรลันท์ทาคแห่งรัฐไบเอิร์น
 • มุขมนตรีMarkus Söder (ซีเอสยู)
 • พรรคการเมืองซีเอสยู / เอฟดับเบิลยู
 • สมาชิกบุนเดิสทาค6 คน (จาก 69 คน)
พื้นที่
 • รวม70,550.19 ตร.กม. (27,239.58 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2019-12-31)[1]
 • รวม13,124,737 คน
 • ความหนาแน่น186 คน/ตร.กม. (480 คน/ตร.ไมล์)
เดมะนิมบาวาเรีย
ประชากร
 • ภาษาทางการ
  • บาวาเรีย
  • เยอรมันที่ราบสูงมาตรฐาน
เขตเวลาUTC+1 (CET)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+2 (CEST)
รหัส ISO 3166DE-BY
GRP (nominal)€633 billion (2019)[2]
GRP per capita€48,000 (2019)
NUTS RegionDE2
HDI (2018)0.947[3]
very high · 6th of 16
เว็บไซต์https://www.bayern.de

บาวาเรียเป็นหนึ่งในรัฐที่เก่าแก่ที่สุดรัฐหนึ่งในยุโรป และถือเป็นรัฐเยอรมันที่มั่งคั่งรัฐหนึ่ง ก่อตั้งขึ้นเป็นดัชชีในกลางคริสศตวรรษที่ 17 ดยุกแห่งบาวาเรียเป็นหนึ่งในเจ้านครรัฐผู้คัดเลือก ซึ่งมีสิทธิ์ออกเสียงเลือกจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ต่อมาในปีค.ศ. 1806 บาวาเรียยกฐานะขึ้นเป็นราชอาณาจักรบาวาเรียภายใต้ระบอบกษัตริย์ และเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเยอรมันในปีค.ศ. 1871 เมื่อเยอรมนีพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง พระเจ้าลูทวิชที่ 3 แห่งบาวาเรีย จำยอมต้องสละราชสมบัติ บาวาเรียจึงปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐนับตั้งแต่นั้น โดยมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เสรีรัฐไบเอิร์น

เขตการปกครอง

ส่วนภูมิภาคของรัฐบาวาเรีย

รัฐไบเอิร์นแบ่งออกเป็น 7 ส่วนภูมิภาคเทียบเท่าจังหวัดที่เรียกว่า เรกีรุงชเบเซิร์ค อันประกอบด้วย:

  1. โอเบอร์ฟรังเคิน (Oberfranken)
  2. มิทเทิลฟรังเคิน (Mittelfranken)
  3. อุนเทอร์ฟรังเคิน (Unterfranken)
  4. ชวาเบิน (Schwaben)
  5. โอเบิร์พฟัลทซ์ (Oberpfalz)
  6. โอเบอร์ไบเอิร์น (Oberbayern)
  7. นีเดอร์ไบเอิร์น (Niederbayern)

เมืองใหญ่

รายชื่อเมืองใหญ่สุดในรัฐไบเอิร์น

เมืองส่วนภูมิภาคประชากร
(2000)
ประชากร
(2015)
เปลี่ยนแปลง
(%)
มิวนิกโอเบอร์ไบเอิร์น1,210,2231,450,381+19.8
เนือร์นแบร์คมิทเทิลฟรังเคิน488,400509,975+4.3
เอาคส์บวร์คชวาเบิน254,982286,374+12.6
เรเกินส์บวร์คโอเบิร์พฟัลทซ์125,676145,465+16.0
อิงก็อลชตัทโอเบอร์ไบเอิร์น115,722132,438+14.8
เวือทซ์บวร์คอุนเทอร์ฟรังเคิน127,966124,873-2.3
เฟือร์ทมิทเทิลฟรังเคิน110,477124,171+12.7
แอร์ลังเงินมิทเทิลฟรังเคิน100,778108,336+7.5
ไบร็อยท์โอเบอร์ฟรังเคิน74,15372,148−2.7
บัมแบร์คโอเบอร์ฟรังเคิน69,03673,331+5.8
อชัฟเฟินบวร์คอุนเทอร์ฟรังเคิน67,59268,986+2.0
ลันทซ์ฮูทอุนเทอร์ไบเอิร์น58,74669,211+17.9
เค็มพ์เทินชวาเบิน61,38966,947+9.1
โรเซินไฮม์โอเบอร์ไบเอิร์น58,90861,844+4.9
น็อย-อุล์มชวาเบิน50,18857,237+14.1
ชไวน์ฟวร์ทอุนเทอร์ฟรังเคิน54,32551,969−4.4

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

🔥 Top keywords: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคลหน้าหลักพระสุนทรโวหาร (ภู่)องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024สไปร์ท (แร็ปเปอร์)ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024พุ่มพวง ดวงจันทร์ดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)อีดิลอัฎฮาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ดอกเตอร์ไคลแมกซ์ ปุจฉาพาเสียวราชวงศ์จักรีลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยรายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีหม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคลทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระอภัยมณีหม่อมเจ้ามงคลเฉลิม ยุคลหม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรหลานม่าอริยสัจ 4ตารางธาตุนิราศภูเขาทองรายชื่อเครื่องดนตรีเฌอมาวีร์ สุวรรณภาณุโชคประเทศไทยอาณาจักรอยุธยาปิติ ภิรมย์ภักดีวอลเลย์บอลวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย